ปฏิรูปที่ดินโดยชุมชนเพื่อกระจายการถือครองที่ดินในสังคม

แนวคิดการปฏิรูปที่ดินโดยชุมชน เกิดจากการนิยามความหมายว่าที่ดินเป็นทรัพยากรส่วนรวมที่คนมีมากไปบีบขับคนมีน้อยหรือคนที่ไม่มีเลย ซึ่งปัญหาหลักเรื่องดินในสังคมไทยคือ การกระจุกตัวของที่ดินการไม่สามารถเข้าถึงที่ดินของคนจนและคนชั้นกลางในระดับล่างที่ดินมีการทิ้งร้างไม่ทำประโยชน์ชุมชนทวงคืนที่ดินที่รัฐให้สัมปทานเอกชนเนื่องจากชาวบ้านเดือนร้อนไม่มีที่ดินทำกินเกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับนายทุนถือครองที่ดินจำนวนมากไว้เฉยๆ

อ่านเพิ่มเติม: ปฏิรูปที่ดินโดยชุมชนเพื่อกระจายการถือครองที่ดินในสังคม

  • ฮิต: 2581

‘ประกันภัยพืชผล’ การรักษาความมั่นคงในชีวิตเกษตรกร

เกษตรกรเป็นอาชีพที่มีความเสี่ยงสูง เนื่องจากการทำการเกษตรต้องพึ่งพิงปัจจัยทางธรรมชาติอย่างมาก เกษตรกรต้องประสบทั้งภัยธรรมชาติ น้ำท่วม ภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วง ซึ่งเหล่านี้ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงยากจน มีหนี้สิน มีรายได้ที่ค่อนข้างต่ำ รายได้ไม่คงที่แน่นอน และบางรายต้องสูญเสียที่ดินทำกิน ดังนั้นภาครัฐจึงควรกำหนดนโยบายในการจัดการความเสี่ยงภัยให้เกษตรกรอย่างมีระบบและยั่งยืน ตั้งแต่เริ่มการเพาะปลูก การแปรรูป การตลาด และการจัดการระบบการเงิน

อ่านเพิ่มเติม: ‘ประกันภัยพืชผล’ การรักษาความมั่นคงในชีวิตเกษตรกร

  • ฮิต: 5047

เขตเศรษฐกิจพิเศษ พิเศษสำหรับใคร?

specialeconomiczone 1

เมื่อไทยได้ก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ เออีซี (ASEAN Economic Community-AEC) อย่างเต็มตัว จะเห็นได้ว่ารัฐบาล คสช. เร่งเดินหน้าพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบการขนส่ง ด่านศุลกากร และอื่น ๆ เพื่อรองรับการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ

อ่านเพิ่มเติม: เขตเศรษฐกิจพิเศษ พิเศษสำหรับใคร?

  • ฮิต: 5927

เขตเศรษฐกิจพิเศษ พิเศษที่ผลประโยชน์ตกอยู่ที่ใคร

ฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พูดถึงสถานการณ์และความคืบหน้าของโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่เป้าหมายต่าง ๆ และได้ตั้งคำถามต่อกระบวนการดำเนินโครงการ ซึ่งเป็นไปอย่างเร่งรัด ตัดตอน หรือกลับหัวกลับหางในขั้นตอนหรือกระบวนการที่สำคัญ โดยเฉพาะขั้นตอนการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน ผ่านอำนาจพิเศษภายใต้คำสั่งคสช. มาตรา 44

อ่านเพิ่มเติม: เขตเศรษฐกิจพิเศษ พิเศษที่ผลประโยชน์ตกอยู่ที่ใคร

  • ฮิต: 4595

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เพิ่มรายได้ท้องถิ่น-ลดความเหลื่อมล้ำจริงหรือ

ตลอดระยะเวลา10ปีที่ผ่านมากระแสการเรียกร้องให้กระจายการถือครองที่ดินเพื่อแก้ปัญหาการกระจุกตัวที่ดินได้มีมาโดยตลอด เนื่องจากกฎหมายภาษีโรงเรือนและที่ดินพ.ศ.2475 และพ.ร.บ.ภาษีบำรุงท้องที่พ.ศ.2508ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นล้าสมัย ไม่สอดรับกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ซึ่งสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศก.)กระทรวงการคลังได้ออกมาให้ข้อว่า โครงสร้างรายรับของรัฐบาลมาจาก 1)ฐานรายได้ภาษีเงินได้บุคคลและนิติบุคคล 2)ภาษีมูลค่าเพิ่ม และ 3)ฐานภาษีทรัพย์สิน โดยสัดส่วนรายได้จากฐานภาษีทรัพย์สินมีเพียง1%

อ่านเพิ่มเติม: ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เพิ่มรายได้ท้องถิ่น-ลดความเหลื่อมล้ำจริงหรือ

  • ฮิต: 2961

ติดตามเราได้ที่ facebook youtube

ผู้เข้าชม

6751384
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
เดือนนี้
ทั้งหมด
56
4506
31576
142910
6751384

Your IP: 18.218.168.16
2024-04-27 00:31