บทความตีพิมพ์ในนิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห์
คอลัมน์ ขวัญของแผ่นดิน
วิถีนาน้ำน้อย 1 ไร่ ได้ 6 ตัน
ครั้งแรกที่ผู้เขียนได้อ่านบทความชิ้นหนึ่งที่พูดถึงแนวคิดเรื่อง "นาน้ำน้อย 1 ไร่ ได้ 6 ตัน" ซึ่งเป็นรูปแบบการทำนาชีวภาพ ไม่ใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีในการผลิต แต่ใช้หลักปฏิบัติเชิงปราณีต ยอมรับว่าค่อนข้างสงสัย และไม่คิดว่าจะเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติ เพราะแม้แต่ญี่ปุ่น ประเทศซึ่งมีความก้าวหน้าในการพัฒนาเทคโนโลยีการทำนาปลูกข้าวมากที่สุดก็มีผลผลิตสูงสุดเพียง 2 ตันต่อไร่เท่านั้น
ความกังวลของคนท้องถิ่น ต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร(2)
ในฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงข้อค้นพบจากงานวิจัยเชิงปฏิบัติการเรื่อง "เขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร : ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และความรู้ของคนท้องถิ่นในฐานะมาตรการป้องกันผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม" ในประเด็นแรกว่าด้วยเรื่องกระบวนการได้มาของที่ดินในเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร ซึ่งเป็นไปอย่างเร่งด่วนและขาดการมีส่วนร่วมของคนท้องถิ่น จึงทำให้เกิดการละเลย และนำไปสู่การละเมิดสิทธิชุมชนในการใช้ประโยชน์ที่ดินสาธารณะเพื่อเศรษฐกิจของคนท้องถิ่น
อ่านเพิ่มเติม: ความกังวลของคนท้องถิ่น ต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร(2)
ความกังวลของคนท้องถิ่นต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร(1)
งานศึกษาของมูลนิธิชีวิตไทในประเด็น "เขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร: ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และความรู้ของคนท้องถิ่นในฐานะมาตรการป้องกันผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม" เพิ่งจะเสร็จสิ้นไปเมื่อเดือนตุลาคม 2559 ที่ผ่านมา
อ่านเพิ่มเติม: ความกังวลของคนท้องถิ่นต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร(1)
ธนาคารต้นไม้ เดินตามรอยเท้าพ่อ
"เราต้องทำอย่างไรก็ตาม ให้เกษตรกรรักษาที่ดินทำกินไว้ให้ได้ ถ้าเขารักษาไม่ได้เขาจะเป็นคนไร้ที่ดินทำกิน และจะกลายเป็นทาสแรงงานในสังคมเมือง ซึ่งเราไม่ประสงค์เลย จะให้คนของเราเป็นทาสใคร"
การปรับตัวของชาวนารัฐต้องให้แต้มต่อ
ความพยายามของภาครัฐในการลดพื้นที่ปลูกข้าวนาปรังรอบสองของชาวนา เป็นที่ทราบกันดีว่าประสบความล้มเหลว เพราะชาวนาไม่ได้สนใจเข้าร่วมโครงการ แต่ยังคงเดินหน้าปลูกข้าวนาปรังรอบสอง แม้รู้ว่าอาจจะต้องเผชิญกับปัญหาราคาข้าวตกต่ำ และปริมาณข้าวล้นตลาดต่อไปก็ตาม