คู่มือเกษตรกร โมเดลการแก้หนี้สินชาวนาแบบครบวงจร

CoverHandbookFamerDebtSolutionModel   คู่มือเกษตรกร

   โมเดลการแก้หนี้สินชาวนาแบบครบวงจร

    พิมพ์ครั้งแรก : เมษายน 2566

    ผู้เขียน : ดร.รุ้งทอง ครามานนท์ 

    บรรณาธิการ : อารีวรรณ คูสันเทียะ

    ภาพประกอบ/รูปเล่ม : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

    จัดพิมพ์โดย :    มูลนิธิชีวิตไท (Local Act)

    สนับสนุนโดย :  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

   

         download

  • ฮิต: 1327

คู่มือเกษตรกร เมื่อถูกบังคับคดียึดที่ดินขายทอดตลาด

CoverFarmerHandbookonLandAuctionProcess 

คู่มือเกษตรกร เมื่อถูกบังคับคดียึดที่ดินขายทอดตลาด

 พิมพ์ครั้งแรก : มกราคม 2566   

 ผู้เขียน : เพ็ญนภา หงษ์ทอง

 บรรณาธิการ : อารีวรรณ คูสันเทียะ

 ที่ปรึกษา : พงษ์ทิพย์ สำราญจิตต์

 ภาพประกอบ : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

 ผู้จัดพิมพ์ :  มูลนิธิชีวิตไท (Local Act)

 สนับสนุนการจัดพิมพ์ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

 

     download

  • ฮิต: 917

แผ่นพับ "ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกร"

DebtPolicyBrift

 download

 

ข้อเสนอเหล่านี้ไม่ใช่แนวทางแก้ปัญหาหนี้สินเกษตรกรชนิดที่เป็นนวัตกรรมทางนโยบาย แต่ถูกเสนอมาแล้วหลายต่อหลายครั้ง ข้อเสนอบางประการ เกษตรกรด้วยกันเองสามารถลงมือทำได้ทันที องค์กรเอกชน ภาคธุรกิจ หรือสถาบันการเงินสามารถผลักดันได้ด้วยตนเองหรือผ่านการร่วมมือกัน

แต่หลายข้อเสนอต้องอาศัยรัฐเป็นผู้ดำเนินการแบบบูรณาการ ไม่แยกส่วนเช่นที่เป็นอยู่ เพราะปัญหาหนี้สินเกษตรกรเกี่ยวพันกับหลายหน่วยงาน เช่น กระทรวงพาณิชย์ในฐานะผู้จัดการตลาดและขายผลผลิตทางการเกษตร กระทรวงการคลังในฐานะผู้ออกมาตรการด้านสินเชื่อ การจัดการหนี้ และกำกับดูแลธนาคารพาณิชย์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในการออกนโยบายสนับสนุนการปรับตัวของเกษตรกรในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

หรือการจัดทำฐานข้อมูลลูกหนี้ที่เป็นระบบ ครบถ้วน ครอบคลุม เนื่องจากลูกหนี้แต่ละคนมีศักยภาพในการชำระหนี้แตกต่างกันอันเกิดจากเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ การศึกษา ครอบครัว ฯลฯ ไม่สามารถใช้มาตรการสำเร็จรูปลักษณะ one size fit all กับทุกคนได้ ข้อมูลจึงมีความสำคัญต่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ทางการเงิน สินเชื่อ หรือรูปแบบการชำระหนี้ที่สอดคล้องกับศักยภาพของลูกหนี้ ซึ่งมีแต่รัฐเท่านั้นที่มีอำนาจและศักยภาพจะทำได้

ต้องไม่ลืมด้วยว่าปัญหาหนี้สินเกษตรกรฉีกไม่ขาดจากปัญหาเชิงโครงสร้างอื่นๆ ที่ต่างก็เป็นประเด็นใหญ่โตโดยตัวมันเอง เช่น ความเหลื่อมล้ำ การกระจุกตัวของที่ดินในมือกลุ่มทุนใหญ่ การเข้าถึงทรัพยากรไม่ว่าจะเป็นทุน การศึกษาที่มีคุณภาพ หรือกระบวนการยุติธรรม

ทั้งหมดทั้งมวลนี้ต้องทำให้เสียงของเกษตรกร (และประชาชน) แปรเป็น ‘เจตจำนงทางการเมือง’ ที่รัฐบาลต้องฟัง

ต้องอาศัยการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยเพื่อส่งผ่านเสียงจากประชาชนไปยังรัฐบาล แปรเจตจำนงเป็นกฎหมายและนโยบายที่จับต้องได้ ปฏิบัติจริง ต่อเนื่อง เพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินและยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรไทยอย่างยั่งยืน

มูลนิธิชีวิตไท

มีนาคม 2566

  • ฮิต: 956

คู่มือเกษตรกร ฉบับรู้ทันเหลี่ยมเจ้าหนี้

CoverFarmerDebtHandbook    คู่มือเกษตรกร ฉบับรู้ทันเหลี่ยมเจ้าหนี้

    พิมพ์ครั้งแรก : มีนาคม 2566

    ผู้เขียน : เพ็ญนภา หงษ์ทอง 

    บรรณาธิการ : อารีวรรณ คูสันเทียะ

    ที่ปรึกษา : พงษ์ทิพย์ สำราญจิตต์

    ภาพประกอบ/รูปเล่ม : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

    จัดพิมพ์โดย :    มูลนิธิชีวิตไท (Local Act)

    สนับสนุนโดย :  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

 

 download

 

 

“...เมื่อสถาบันการเงินเจ้าหนี้พบความผิดปกติในบัญชีเงินกู้ เช่น การผิดนัดชำระ การค้างชำระอย่างต่อเนื่อง ก็มักจะส่งตัวแทนเข้าหาลูกหนี้เพื่อเชื้อเชิญ ชักชวน หว่านล้อม ให้ลูกหนี้ปรับโครงสร้างหนี้ ด้วยเหตุผลว่า “จะได้หยุดดอกเบี้ยและค่าปรับ” และ “จะมีเงินสดใช้ ‘เพิ่ม’ อีกนิดหน่อย” สิ่งที่สถาบันการเงินเจ้าหนี้ทั้งภาครัฐและเอกชนไม่อธิบายให้เกษตรกรลูกหนี้ฟังอย่างชัดเจนคือ การปรับโครงสร้างหนี้หมายถึงการที่เรามีหนี้เพิ่มขึ้น ภาระการชำระหนี้ก็เพิ่มมากขึ้น โอกาสสูญเสียที่ดินทำกินจากการถูกนำไปขายทอดตลาดก็มีเพิ่มมากขึ้นและเร็วขึ้น”

  • ฮิต: 967

การปรับตัวของชาวนาไทย

ThaiRiceFarmerAdabtation การปรับตัวของชาวนาไทย                                    

 พิมพ์ครั้งแรก : กุมภาพันธ์ 2561 

 บรรณาธิการ : พงษ์ทิพย์ สำราญจิตต์ 

 กองบรรณาธิการ : รศ.สมพร อิศวิลานนท์, 

 ดร.ปิยะทัศน์ พาฬอนุรักษ์, รศ.ดร.ธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์, 

 นันทวัน หาญดี, สมจิต คงทน, วรากร น้อยพันธ์, 

 อารีวรรณ คูสันเทียะ, ธีระพงษ์ วงษ์นา, ประพันธ์ โพธิ์พูลพรหม 

 ฝ่ายประสานงาน : นาขวัญ สกุลลักษณ์

 จัดพิมพ์โดย : มูลนิธิชีวิตไท (Local Act)  

    download

   

   

 

 

 

"งานศึกษาชิ้นนี้ได้บ่งบอกว่า หากภาครัฐต้องการทำงานเพื่อหนุนเสริมกระบวนการปรับตัวของชาวนาและเกษตรกร

เพื่อให้มีพลวัตรไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านต่าง ๆ ที่สะสมมายาวนาน

มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ภาครัฐ ต้องมีวิสัยทัศน์ที่มากไปกว่านโยบายระยะสั้น

และเห็นคุณค่าของการลงทุนทางด้านสังคม ไม่ว่าจะเป็นทุนด้านความรู้

ทุนด้านความคิด ด้านเครือข่าย เงินทุนที่มีความยั่งยืน และการจัดสรรที่ดิน

เพื่อให้โอกาสทำกินแก่เกษตรกร เพื่อการลงทุนด้านสังคมทั้งหมดนี้

ในท้ายที่สุดแล้ว จะสร้างโอกาสและเสริมศักยภาพ

เพื่อให้การปรับตัวขอ่งชาวนาและเกษตรกรไทย.....

เป็นไปได้บนเส้นทางที่ยั่งยืน"

        

การสูญเสียที่ดิน, ข้าวไทย, การปรับตัวของชาวนา, นโยบายแก้หนี้, นโยบายข้าว, นโยบายเกษตร

  • ฮิต: 1561

ติดตามเราได้ที่ facebook youtube

ผู้เข้าชม

6719115
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
เดือนนี้
ทั้งหมด
3620
30388
54007
110641
6719115

Your IP: 13.58.151.231
2024-04-20 18:52